พระนางพญา เปิดประวัติ พระนางพญา อภินิหาร 1 ใน 5 เบญจภาคี

พระนางพญา หนึ่งในพระสุดล้ำค่า ในชุดเบญจภาคี ต้องยกให้ พระนางพญา ซึ่งเป็นพระเครื่อง ที่มีอาการสร้าง เป็นอัตลักษณ์ งดงามอ่อนช้อย จนได้รับสมญานามว่า เป็นราชินีแห่งพระเครื่อง อีกทั้ง พระนางพญาพิษณุโลก นี้ก็ยังมีความสำคัญ ทางด้านประวัติศาสตร์ของไทย เพราะสันนิษฐานว่า

 

ถูกสร้างขึ้น ในสมัยอยุธยา และยังมีพุทธคุณ ที่โดดเด่นหลายด้าน ทั้งการปกครอง เมตตามหานิยม ซึ่งบทความนี้ จะพาคุณไปเจาะลึก กับ ประวัติการสร้าง ลักษณะแบบพิมพ์ของ พระเบญจภาคีองค์นี้กัน หนังออนไลน์

พระนางพญา

พระนางพญา ประวัติความเป็นมาของสุดยอด พระเครื่องพิมพ์นางพญา

ถ้าจะพูดถึงประวัติ ขององค์พระสมเด็จนางพญา ก็ต้องย้อนกลับไป เมื่อประมาณ 400 ปีก่อน พระมารดาของ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช หรือ ที่คนไทยรู้จักกันดีว่า พระวิสุทธิ์กษัตริย์ตรี ขณะนั้นเป็นพระมเหสีของ พระมหาธรรมราช าแห่งเมืองพิษณุโลก ในนามที่เป็น แม่เมืองสองแคว อีกครั้ง

 

พระสวามี ก็ทรงพระอิสริยยศ เป็นพระอุปราชแห่งกรุงศรีอยุธยา พิษณุโลกก็เปรียบเสมือน เมืองลูกหลวง จึงได้มีการจัดสร้าง “พระนางพญา” เพื่อบรรจุไว้ ในพระเจดีย์ เมื่อมีการบูรณะวัดราชณบูรณะ ประมาณปี พ.ศ. 2090-2100 ซึ่งเป็นการจัดสร้าง ตามคติโบราณ หลังจากนั้น การศึกสงครามภายในประเทศ มิได้หยุดหย่อน ส่งผลให้วัดนางพญา ถูกทิ้งร้างไปไม่มี การเหลียวแล

 

จนกระทั่งผ่านไปนับ 300 ปี ในปี พ.ศ. 2444 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ได้มาทอดพระเนตร การหล่อพระพุทธะชินอราชจำลอง ที่เมืองพิษณุโลก ในจังหวะที่จะขุดลงเสา ก็พบพระสมเด็จนางพญา ถูกฝังอยู่ใต้ดินเป็นจำนวนมาก และยังมีซากปรักหักพัง ของโบราณสถานฝังกลบ รัชกาลที่ห้า จึงได้นำกลับมายังพระนคร และอี กส่วนหนึ่งก็แจกจ่าย ให้กับข้าราชบริพาร พระกริ่ง

พระนางพญา

ทำไมพระสมเด็จนางพญาจึงถูก “ขุดค้น” พบ

หากพูดถึงพระเครื่องชื่อดัง ในอดีตมักจะค้นพบจาก พระธาตุ หรือ เจดีย์เก่าแก่ แต่พระเครื่องนางพญานี้ กลับถูกขุดค้นพบ พร้อมกับซากปรักหักพัง ที่ทับถมอยู่ น่ากลัวเพราะว่า ในอดีตวัดนางพญา ไม่มีพระอุโบสถ เป็นวัดที่มีเพียงแค่ พระวิหาร ซึ่งในขณะนั้นเป็น อาคารก่ออิฐส่วนพระประธาน ก็เป็น

 

ปูนปั้น ฟ้าผนังวิหาร ก็มีการเขียนภาพไตรภูมิพระร่วง ภาพพุทธประวัติ แต่ภายหลัง จึงได้มีการบูรณะ พระวิหารให้กลายเป็น พระอุโบสถนั่นเอง ในการค้นพบ พระสมเด็จนางพญา เมื่อปี 2444 ถูกค้นพบปะปนกับ ซากปรักหักพังของเจดีย์ นั่นเพราะองค์ พระถูกบรรจุไว้บนหอระฆัง แต่ก็มีพระ

 

หลายองค์ ที่นำกลับไปไม่หมด และ เกิดเจดีย์ถล่มลงมาอีกครั้ง พระเณรในสมัยนั้น ก็ได้ค้นเอาดินไปเททิ้ง ไว้ที่ดงกล้วย ต่อมาในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ประชาชนหนีตายเข้าไป ในดงกล้วย แล้วขุดหลุมหลบภัย จึงทำให้ค้นพบ พระเครื่องนางพระยาจมอยู่ใต้ดิน

พระสมเด็จนางพญา พุทธลักษณะที่งดงาม เป็นอัตลักษณ์หาใดเปรียบ

พระเครื่ององนี้ เป็นพระเนื้อดินเผา แน่นอนว่า ย่อมส่งผลให้มีสีบนพิมพ์พระ ที่ไม่เหมือนกัน นั่นเพราะ ขนาดความหนาแน่น ของเนื้อดิน รวมถึง อุณหภูมิที่ใช้เผา ก็มีผลต่อสีองค์พระ ด้วยเช่นกัน สำหรับพุทธศิลป์ของพระ จะเป็นการผสมผสาน ของศิลปะสุโขทัย และ ศิลปะอยุธยา ลักษณะ

 

องค์พระ เป็นพิมพ์เข่าโค้ง บริเวณอกของพระนูนเด่น เรียวแขนมีความอ่อนช้อย มองไปก็คล้ายกันกับอิสตรี ด้วยเหตุนี้ จึงเป็นที่มา ของชื่อว่านางพญานั่นเอง พิมพ์พระเป็นทรงสามเหลี่ยม ส่วนขอบองค์พระ มีการตอบแชทองค์พระ จึงส่งผลให้ พระประธานนั้น โดดเด่นยิ่งขึ้น แตกต่างจาก

 

พระเครื่องทั่วไป ที่จะมีการเน้นพื้นที่ว่าง ด้านในเพื่อใส่รายละเอียดอื่น ๆ ลงไป เช่น อาสนะ ต้นโพธิ์ เม็ดบัว เป็นต้น แต่สำหรับพระองนี้ เน้นความโดดเด่น ขององค์พระเป็นสำคัญ ด้านหลังของพิมพ์พระ มีความเรียบ แต่ร่องรอยที่ปรากฏ ในปัจจุบันนี้ก็เกิดขึ้น จากการหดตัวของเนื้อดินเผา

พระนางพญา พุทธคุณที่โดดเด่น เน้นเมตตามหานิยม ลูกน้องยำเกรงดุจ “นางพญา”

ด้านพุทธคุณของ พระสมเด็จองค์นี้ เซียนพระนางพญา จะเน้นไปทางเมตตามหานิยม ซึ่งแตกต่างจากพระเครื่อง ที่สร้างขึ้นในสมัยเดียวกัน เนื่องจากสมัยนั้น มีการรุกรานจากอารีราชศัตรู จึงทำให้พระเครื่อง ที่ถูกสร้างขึ้นมาเน้นไปทาง คงกระพันชาตรี แคล้วคลาดปลอดภัย แต่พระองนี้

 

มีความแตกต่างออกไป เน้นไปทางเมตตามหานิยม พกพาไปไหน มีแต่คนรักคนหลงคน ให้ความเอ็นดู จึงเหมาะกับ ผู้ที่มีอาชีพค้าขาย หรือการทำธุรกิจ ที่จำเป็นต้องเจรจา แต่ในขณะเดียวกัน ก็เชื่อว่าเป็นเลิศทั้งเรื่อง อำนาจบารมี หากเจ้าของธุรกิจ หรือ ผู้ที่มีลูกน้องใต้บังคับบัญชา พกพาไว้ติดตัว

 

จะทำให้ลูกน้องยำเกรง เคารพเชื่อฟังดุจดั่งนางพญา ซึ่ง รูปภาพพระนางพญา นี้ปัจจุบันสามาร ถแบ่งพิมพ์ได้ทั้งหมด หกพิมพ์ก็คือ พิมพ์อกนูนเล็ก, พิมพ์เข่าตรง, พิมพ์เข่าโค้ง, พิมพ์สั่งฆาฏิ, พิมพ์อกนูนใหญ่ และพิมพ์เทวดา

พระนางพญา

ทำไมพระสมเด็จนางพญา จึงมีหลายกรุ

ตอนนี้กำลังเกิดประเด็น ถกเถียงในวงการพระเครื่องว่า เหตุใดพระสมเด็จนางพญา จึงมีการถูกค้นพบหลายกรุ อีกทั้งพิมพ์พระพุทธะลักษณะต่าง ๆ ก็ยังเป็นพุทธศิลป์ แบบเดียวกันที่ค้นพบ ในวัดนางพญาที่พิษณุโลก นั่นก็เพราะว่าในปี พ.ศ. 2470 เจ้าอาวาสของวัดนางพญา ได้ค้นพบพระ เครื่อง

 

อีกจำนวนหนึ่ง ที่ถูกบรรจุอยู่ในเจดีย์โบราณ และ เจดีย์นั้นพังทลายลงมา แต่ปรากฏว่าชาวบ้าน ในละแวกนั้น ไม่ได้ให้ความสนใจเท่าที่ควร บางส่วนของพระ จึงถูกนำไปบรรจุไว้ ในเจดีย์หรือกรุอื่น ๆ กระจายกันออกไป แม้แต่ในกรุงเทพมหานคร เองก็มี ซึ่งมีการพิสูจน์แล้วว่าเป็น พระเครื่อง ที่ได้มา

 

ในปี พ.ศ. 2444 ซึ่งตรงกับช่วงเวลาที่ รัชกาลที่ 5 เสด็จประพาส เมืองพิษณุโลก แต่ลักษณะของความงาม พระเครื่องแต่ละองค์ จะมีสภาพที่แตกต่างกัน นั่นเพราะว่ากรุที่ใช้บรรจุ โครงสร้างกรุ ระยะเวลา เป็นสิ่งที่ส่งผลต่อองค์พระโดยตรง ซึ่งเรื่องนี้มีจารึก ในโบราณได้กล่าวเอาไว้ว่า “ พระที่บรรจุอยู่ในกรุนี้ นำมาจากวัดนางพญาพิษณุโลก”

 

พระนางพญา พุทธคุณ หนึ่งในพระเบญจภาคี ที่มีทั้งความงาม และพุทธคุณเป็นเลิศ แต่เนื้อสิ่งอื่นใด พระสมเด็จนางพญา และองค์พระ อีกทั้งสี่ล้วนเป็นพระ มีความเกี่ยวข้อง กับ ประวัติศาสตร์ของชาติไทย เปรียบเสมือนโบราณวัตถุ ที่ลูกหลานไทย ต้องช่วยกันดูแลรักษา เพราะนี่คือ

 

พระเครื่องสุดล้ำค่า ที่มีอายุเก่าแก่มากกว่า 100 ปี โดยเฉพาะพระสมเด็จนางพญา ที่ก่อสร้างขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยา เป็นเหมือน การตกตะกอนกาลเวลา ให้ผู้ครอบครองได้ระบึกถึง ความรุ่งเรืองรุ่งโรจน์ ในขณะนั้น ผนวกกับพุทธคุณ เมตตามหานิยม ส่งเสริมอำนาจบารมี ให้กับผู้ครอบครอง ด้วยเหตุนี้พระเครื่องนางพญา จึงยังคงได้รับความนิยม และ มีมูลค่าสูง ไม่ว่าจะผ่านมากี่ยุคกี่สมัย