วัดสระเกศ ประวัติวัดสระเกศ กับ 6 เรื่องราวที่หลายคนอาจไม่รู้!
วัดสระเกศ หนึ่งในวัดดังของกรุงเทพฯ ต้องมีชื่อของ วัดสระเกศ ราชวรมหาวิหารติด 1 ในลิสต์อย่างแน่นอน นั่นเพราะวัดแห่งนี้ มีประวัติความเป็นมา ที่ยาวนาน โดดเด่นด้วยสถาปัตยกรรมสุดโดดเด่น ท่ามกลางตึกสูงระฟ้า ของเมืองกรุง และเรื่องราวลึกลับ ที่เล่ากันสืบมา โดยเฉพาะไฮไลท์ ของ
ที่นี่ เชื่อว่า หลายคนคงสงสัยว่า ทำไมพระบรมสารีริกธาตุ จึงสร้างเป็นทรงภูเขาทอง หากไปสักการะ เพื่อขอพร เสริมความสิริมงคล หรือ ถ้าหากแวะเวียนมาเที่ยวที่นี่ มีที่ใดให้เช็คอินกันบ้าง ไปหาคำตอบ พร้อมกันเลย มังงะ
1.แท้จริงแล้ววัดแห่งนี้ สร้างขึ้นตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา
แม้จะเป็นวัดดัง แห่งเกาะรัตนโกสินทร์ อะไรคนอาจจะไม่ทราบว่า ที่นี่เป็นวัดที่สร้างขึ้น ในสมัยกรุงศรีอยุธยา เดิมทีวัดชื่อว่า วัดสะแก แต่เมื่อเข้าสู่ รัชสมัยของ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ได้มีการพระราชทาน นามใหม่ให้เป็น “สระเกศ” ซึ่งหมายถึง การสระผม เพราะในสมัยนั้น รัชกาลที่ 1
ได้มีการทำพิธี กระยาสนาน ซึ่งเป็นพิธีสำคัญ ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ถ้าพูดภาษาที่เข้าใจง่าย ก็หมายความว่า เป็นที่สำหรับใช้สรงน้ำ ชำระล้างร่างกาย ถือเป็นขั้นตอนแรก ก่อนจะประกอบพิธี บรมราชาภิเษกนั่นเอง วัดในกรุงเทพ
วัดสระเกศ 2.ที่มาของ “ภูเขาทอง” แท้จริงแล้ว ต้องการสร้างเป็นพระปรางค์
เชื่อหรือไม่ว่า แท้จริงแล้วภูเขาทอง ที่วัดแห่งนี้ เดอะทรี ต้องการสร้างเป็น พระปรางค์ โดยมีการเริ่มสร้าง ในสมัยรัชกาลที่ 3 แต่เกิดเหตุสุดวิสัย สร้างไม่สำเร็จ เมื่อในสมัยรัชกาลที่ 4 จึงมีการเปลี่ยนแบบใหม่ ให้เป็นคล้ายกับ ภูเขา แล้วมีการก่อ พระเจดีย์เอาไว้ บนยอดเพื่อประดิษฐาน
พระบรมสารีริกธาตุ การสร้างนี้ ล่วงเลยมาจนถึง สมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่งมีความสูงถึง 77 เมตร โดยพระองค์ ก็ได้พระราชทานนามว่า “ภูเขาทอง” หรือ สุวรรณบรรพต เหมาะกับการท่องเที่ยว เพื่อศึกษา และ เสพกลิ่นอายของ วัฒนธรรมความเป็นไทย
3.แร้งวัดสระเกศ ตำนานอันน่าสะพรึง สัญลักษณ์ของโรคระบาด
หากเอ่ยถึง วัดภูเขาทอง สิ่งที่หลายคน ต้องนึกถึงก็คือ ฝูงแร้ง ซึ่งมากับกินซากศพ ที่นอนตายเกลื่อนวัด โดยในสมัยรัชกาลที่ 2 ได้เกิดอหิวาตกโรค ส่งผลให้ประชาชน ล้มตายเป็นจำนวนมาก โดยมีชาวบ้าน ในละแวกนั้น เสียชีวิตประมาณ 30,000 ราย ซากศพมากมาย ไม่ต่างจากภูเขาขนาดย่อม
เมื่อฝังไม่ทัน ก็นำไปทิ้งไว้ เกลื่อนกลาดไปทั่ว อีกทั้งภายในวัด ก็เป็นแหล่งรวม ของฝูงแร้ง แรงเหล่านี้จึงลงไปจิบทึ่งกินซากศพ จนเหลือแต่กระดูกขาวโพลน แม้ปัจจุบันภายในวัด จะไม่มีแรงอาศัยอยู่ แต่ก็ยังมีการปั้นรูปปั้น เพื่อเป็นการระลึกถึง เหตุการณ์โรคห่า ในครั้งนั้น และ ยังมีการพูดถึง
ฝูงแร้ง ที่มืดฟ้ามัวดิน กับ พฤติกรรมการกิน อันน่าสยดสยองนี้ สถาปัตยกรรม วัดสระเกศ
วัดสระเกศ 4.ต้นพระศรีมหาโพธิ์ อายุ 200 ปี หน่อจากต้นพระศรีมหาโพธิ์ที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสรู้
เมื่อเข้าไป ภายในบริเวณวัด หลายคนอาจจะเคย สังเกตเห็นต้นไม้ ขนาดใหญ่ที่แผ่ขยาย กิ่งก้านสาขา แถบความร่มเย็น ไปทั่วบริเวณวัด ซึ่งนั่นก็คือ ต้นศรีมหาโพธิ์ ต้นไม้เก่าแก่ ที่อายุมากกว่า 200 ปี มีตำนานเล่าว่า แท้จริงแล้วศรีมหาโพธิ์ต้นนี้ เกิดจากสมัยที่ พระเจ้าอโศกมหาราช ได้ให้ทูตผู้ไป
เผยแพร่พุทธศาสนา นำหน่อพระศรีมหาโพธิ์ ที่พระพุทธเจ้าทรง ตรัสรู้ไปปลูกที่กรุงลังกา เมื่อเข้าสู่รัชกาลที่ 2 ของบ้านเรา พระอาจารย์ จากวัดภูเขาทอง ก็ได้ไปสืบ พระพุทธศาสนาในลังกา พร้อมนำหน่อ พระศรีมหาโพธิ์กลับมา 3 หน่อ โดยทั้ง 3 หน่อนี้ แจกจ่ายไปยังวัด 3 วัดก็คือ วัดมหาธาตุ วัดสุทัศน์ และ ที่วัดภูเขาทอง
5.หลวงพ่อพระประธาน องค์พระปฏิมา พระประธาน Wat Saket
โดยปกติแล้ว พระประธานประจำ พระอุโบสถ ของวัดแต่ละวัด ก็จะมีนามอันเป็นมงคล และ บ่งบอกถึงที่มา ของพระพุทธรูป องค์นั้นได้อย่างดี แต่สำหรับ ที่นี่พระประธาน มักถูกเรียกติดปากว่า “หลวงพ่อพระประธาน” ซึ่งเป็นพระพุทธรูป องค์ใหญ่ปางสมาธิ ที่เชื่อว่าสร้างขึ้น ตั้งแต่สมัยอยุธยา
แต่ในความเป็นจริงนั้น พระพุทธรูปองค์เดิม ถูกบรรจุไว้ภายใน และ วงใหม่ที่เราเห็น อยู่ปัจจุบันนี้เป็นการ สร้างพอกทับ พุทธลักษณะของ องค์พระประธาน จะมีใบหน้าที่ค่อนข้างเหลี่ยม ตามแบบศิลปะ ของอยุธยา รัศมีเป็นเปลวสูง โอษฐ์กว้าง แต่ขมวดพระเกศา กลับมีขนาดเล็ก โดยรวมแล้ว
พุทธลักษณะ จะค่อนไปทาง อยุธยาตอนปลาย หากเทียบก็อยู่ใน สมัยของพระเจ้าปราสาททอง และ เมื่อวันที่ 14 เมษายน 2561 ที่ผ่านมา ได้มีการทำหนังสือ ขอพระราชทานนาม ของพระประธาน ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จึงทรงพระกรุณา โปรดเกล้าพระราชทานนามว่า
“พระพุทธมงคลชินศรีวชิระมุนี” เชื่อว่าการกราบไหว้ หลวงพ่อพระประธาน จะช่วยให้ผู้ที่ กำลังเผชิญปัญหา พบทางสว่าง เจ้าอาวาสวัดสระเกศ
6.ไหว้ขอพรพระวิหารหลวงพ่ออัฏฐารส พระพุทธรูปทองสัมฤทธิ์
พระอัฏฐารสศรีสุคตทศพลญาณบพิตร เป็นพระพุทธรูป ปางห้ามญาติ ที่โด่งดังเป็นอย่างมาก พุทธลักษณะเป็น ศิลปะแบบสุโขทัยตอนต้น มีอายุเก่าแก่ ถึง 700 ปี แต่หลายคน อาจจะไม่รู้ว่าแท้จริงแล้ว องค์ของพระพุทธรูป หล่อด้วยทองสัมฤทธิ์ ดังนั้นองค์ของ พระพุทธรูป จึงไม่มีการเชื่อม
ประสานรอยต่อ ก่อนหน้านี้ ประดิษฐานที่จังหวัดพิษณุโลก สำหรับตำนาน ของพระพุทธรูปองค์นี้ เป็นที่มาของท่าน้ำสามเสน ว่ากันว่า หลังจากที่เกิดเหตุการณ์ อหิวาตกโรค พระพุทธรูป ได้ถูกล่องลงมา ตามแม่น้ำเจ้าพระยา เมื่อถึงท่าน้ำแห่งหนึ่ง เรือที่ประดิษฐานองค์พระ จมลงไป จึงทำให้
มองเห็น เหมือนกับว่าพระพุทธ รูปลอยน้ำได้ เมื่อมีการนำขึ้นฝั่ง ก็มีชาวบ้านให้ความสนใจ และ มามุงดูมากถึง 300,000 ราย ที่นั่นจึงได้ชื่อว่า ท่าน้ำสามแสน แต่ภายหลัง เรียกเพี้ยนเสียงเป็น สามเสน
ไม่ว่าจะผ่านไปกี่ปี ความงดงามของ วัดภูเขาทอง ยังคงตั้งตระหง่านคู่กับ ความเจริญของ มหานคร อันไม่เคยหลับไหล นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทย และ ชาวต่างประเทศ จึงนิยมขึ้นไปกราบไหว้ พระบรมสารีริกธาตุ บนภูเขาทอง ในเวลากลางคืน โดยเฉพาะ ในช่วงเวลาสุดพิเศษ ช่วงเทศกาล
สำคัญ ก็จะมีการจัดงานวัด ซึ่งเป็นงานรื่นเริง ที่แฝงไปด้วยกลิ่นอาย ของความคึกคัก ในอดีต ซึ่งเป็นงาน นมัสการพระบรมสารีริกธาตุ 7 วัน 7 คืน มีการจำหน่าย อาหารและมีการละเล่น แบบงานวัดไว้ให้กับ ประชาชนชาวกรุง ได้ไปสัมผัส ถึงกลิ่นอายของชนบท ในยุครัตนโกสินทร์รุ่งเรือง และ
ยังเป็น เป้าหมายสำคัญ ของผู้ที่ต้องการ ไปสักการะเพื่อขอพร เพราะนอกจาก พระพุทธรูป ที่เรากล่าวมาข้างต้นแล้ว ก็ยังมีหลวงพ่อโต หลวงพ่อดำ และสิ่งที่น่าสนใจ อีกนานับประการ หลวงพ่อดุสิต วัดสระเกศ