ศาสนาฮินดู เมล็ดพันธุ์ต้นกำเนิดศาสนาอื่น ศาสนาพราหมณ์ คืออะไรและชาวฮินดูเชื่อถือสิ่งใด

ศาสนาฮินดู ถ้าจะเอ่ยถึงศาสนาที่เก่าแก่ที่สุด บนโลกนี้หนึ่งในนั้น จะต้องมีพราหมณ์-ฮินดู  ติดเข้ามาในลิสต์อย่างแน่นอน ผู้ที่นับถือฮินดูจะถูกเรียกว่า ชาวฮินดี นักวิชาการหลายคนมองว่า ฮินดูคือการนำวัฒนธรรม  ขนบธรรมเนียมเก่าแก่ของ อนุทวีปอินเดีย มาผสมผสานเข้าด้วยกัน ถ้าจะว่าไปแล้ว ศาสนาพราหมณ์ นี้กลับไม่มีศาสดา ผู้ที่เผยแพร่ศาสนาก็คือฤาษี เป็น ศาสนาพราหมณ์ ที่ขึ้นชื่อว่า แฝงไปด้วยปรัชญา จึงยึดมั่นความเชื่อ ของผู้ที่

 

เคารพศรัทธา ได้อย่างเหนียวแน่น ส่วนใหญ่แล้วเทพเจ้า ที่เรารู้จักกันดี ก็จะมาจากความเชื่อของฮินดู กันทั้งสิ้นไม่เว้น แม้แต่พิธีกรรมต่าง ๆ และมีหลายศาสนาที่ถือกำเนิด ในภายหลังก็ได้รับอิทธิพลของฮินดู เข้ามาปะปน และปัจจุบันนี้ ศาสนาฮินดู มีจำนวนผู้นับถือ เป็นอันดับที่ 3 ของโลก นับวันยิ่งมีจำนวน ชาวฮินดีเพิ่มมากยิ่งขึ้น พระแม่รัศมี

ศาสนาฮินดู

พระเป็นเจ้าของศาสนาฮินดูคืออะไรและชาวฮินดูเชื่อถือสิ่งใด โมกษะ ใน ศาสนา พราหมณ์ ฮินดู หมาย ถึง อะไร

คำว่า โมกษะ หมายถึงการหลุดพ้น หรือเป็นการปลดปล่อยความทุกข์ในรูปแบบต่าง ๆ ถ้าเปรียบกับ ศาสนาฮินดู กับ ศาสนาพุทธ ก็หมายถึงการเข้าสู่ปรินิพพาน ก็คือการพ้นจากความทุกข์ทั้งหลายทั้งปวงนั่นเอง หลายคนเมื่อเคยคิดว่าการพ้นทุกข์คือเส้นทางหลังความตายแต่ในความเป็นจริงแล้ว

 

ไม่ใช่ พ้นทุกข์ที่แท้จริงคือการรู้จักตัวเอง การเข้าใจความต้องการ และมีความสุขกับปัจจุบัน ความเชื่อของฮินดูนั้นกล่าวเอาไว้ว่าเป้าหมายสูงสุดของมนุษย์คงหนีไม่พ้น ธรรมะ อรรตถะ และกาม

ศาสนาฮินดู ศาสนาพราหมณ์ หลัก ศรัทธา 6 ประการ เป็น คำ สอน ของ ศาสนา ใด

มากันที่หลักธรรม คำสอนของศาสนาอิสลามกันบ้าง ซึ่งหลักศรัทธา 6 ประการ จะมาพร้อมหลักปฏิบัติ 5 ประการ ตามความเชื่อของชาวมุสลิมนั้น ได้กล่าวเอาไว้ว่า หากใครก็ตาม ที่ไม่ปฏิบัติตามแนวทางของ พระอัลเลาะห์ ก็จะดำเนินชีวิตอย่างสะเปะสะปะ เปรียบเสมือนเรือที่ขาดหางเสือ ไม่สามารถมุ่งสู่เป้าหมายได้ ซึ่งหลักศรัทธา 6 ประการนั้น ประกอบไปด้วย

 

1.ศรัทธาต่อพระอัลเลาะห์ หรือเป็นการศรัทธาในพระเจ้า ชาวมุสลิมเชื่อว่าพระอัลเลาะห์ มีอานุภาพเหนือสรรพสิ่งทั้งปวง เป็นผู้รอบรู้ ไม่มีใครมาเทียบเคียง

 

2.ศรัทธาต่อเทวทูตหรือมลาอิกะห์ ของพระอัลเลาะห์ เปรียบเสมือนบริวารหรือ บางสิ่งบางอย่างที่พระอัลเลาะห์ สร้างขึ้นมาสำหรับ ให้ปฏิบัติตามคำสั่ง แต่มลาฮิกะห์เป็นนามธรรม

 

3.ศรัทธาในบรรดาศาสนทูต หรือนบี หรือผู้ที่มาเผยแพร่ โองการของพระเจ้า หรือนำคำสอนของพระอัลเลาะห์ มายังโลกมนุษย์ ดังนั้นศาสนทูต จึงมีได้หลายคน

 

4.ศรัทธาในบรรดาคัมภีร์ของพระอัลเลาะห์ ซึ่งหมายถึงอัลกุรอาน และคัมภีร์อื่น ๆ ที่ได้มอบให้แก่นบีมูฮัมหมัด คัมภีร์เหล่านี้ จะเป็นบทบัญญัติ เพื่อการดำเนินชีวิตของ ชาวมุสลิมทุกคน

 

5.ศรัทธาในวันสิ้นโลก และวันพิพากษา ศรัทธาในโลกหน้า มีความเชื่อว่าหลังจาก วันสิ้นโลกมนุษย์ ทุกคนจะฟื้นขึ้นมา ทุกชีวิตจะปรากฏ ในที่ใดที่หนึ่ง และที่นี่จะเปรียบเสมือนกับที่ตัดสิน การกระทำในสมัย ที่ยังมีชีวิตอยู่

 

6.ศรัทธาในกฎสภาวะของโลก กดกำหนดสภาวการณ์ และศรัทธาในลิขิตของพระเจ้า ชาวมุสลิมเชื่อว่า ปรากฏการณ์หรือ กฎของธรรมชาติ เป็นพระอัลเลาะห์กำหนดขึ้น ทำให้มนุษย์ใช้ชีวิต บนความไม่ประมาท

ศาสนาฮินดู

ประวัติความเป็นมา ศาสนาฮินดู ศาสนาพราหมณ์ มีนิกายและนับถืออะไรบ้าง พระเป็นเจ้าของศาสนาฮินดูคืออะไรและชาวฮินดูเชื่อถือสิ่งใด

เป็นเรื่องแปลกที่ ศาสนาฮินดู ศาสนาพราหมณ์ ไม่ได้มีแนวทางคำสอน แบบหลักแกนกลาง และชาวฮินดูก็มักจะไม่มีการกล่าวถึง การนับถือนิกายต่าง ๆ อย่างเป็นกิจจะลักษณะ เพราะหลายอย่าง มักจะนำมารวมกัน โดยมีแบบแผนที่ใกล้เคียงกัน หลักปฏิบัติหลายอย่าง ยังคงคลุมเครือและ ยึดตาม

 

ประเพณีนิยม ของแต่ละท้องถิ่นมากกว่า ในภายหลังมีนักวิชาการ ได้ศึกษาเรื่องนี้อย่างเจาะลึก และนำมาแยกนิกายของฮินดู ออกเป็น 4 นิกายหลักก็คือ อนิเมะ

 

-ลัทธิไวษณพ ศาสนาฮินดู พระเจ้า จะเน้นบูชาพระวิษณุ และปางอวตารที่ได้รับ ความนิยมสูงสุด ก็คือพระกฤษณะและพระราม กิจกรรมของผู้ที่นับถือลัทธินี้ จะค่อนข้างชอบความสนุกสนาน มีการเต้นระบำ ใช้ดนตรีเพื่อสร้างสมาธิ ว่ากันว่าพิธีกรรมต่าง ๆ ที่ประกอบขึ้นจาก ผู้ที่เป็นลัทธิไวษณพจะ ละเอียดเป็นพิเศษ

 

-ลัทธิไศวะ ศาสนาพราหมณ์ หรือเป็นการบูชา พระศิวะโดยตรง แต่ละทีนี้จะเป็นลัทธิหลัก และแตกแขนงออกไป ย่อยหลายสาขา เช่น การมุ่งปฏิบัติโยคะ การเฉลิมฉลอง การแสวงบุญ เป็นต้น เราอาจจะเห็นนักบวชหลายคน ที่เน้นปฏิบัติโยคะ ซึ่งพวกเขากระทำไป เพื่อต้องการให้ตัวเอง เข้าถึงพระศิวะมากยิ่งขึ้น ลัทธินี้ได้รับความนิยม แถบเนปาล อินเดียใต้ และหิมาลัย

 

-ลัทธิศักติ เป็นการบูชามหาเทวีของมหาเทพ โดยเฉพาะ ศาสนาพราหมณ์  การบูชา  พระแม่ปารวตี ที่มีการเคารพทุกรูปลักษณ์ ไม่ว่าท่านจะอยู่ในร่างพระแม่กาลี พระแม่อุมาเทวี และหลักการปฏิบัติ ของผู้ที่นับถือลัทธิศักติ จะเหมือนกับตันตระ

 

-ลัทธิสมารตะ ศาสนาพราหมณ์ คือการบูชาเทพเจ้าฮินดู แทบทุกองค์ จะเน้นที่มหาเทพ พระศิวะ พระวิษณุ พระพิฆเนศ เป็นต้น แต่ธรรมเนียมการปฏิบัตินี้ กำเนิดขึ้นภายหลังคริสตกาล เพราะเป็นการรวม เอาหลักฮินดูเข้ากับ ความเชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ

 

ส่วนเรื่องคัมภีร์ของฮินดู จะมีคัมภีร์ 3 อย่างซึ่งเรียกว่า ไตรเวทย์ ประกอบไปด้วยคัมภีร์ บทสวดสดุดีพระเจ้า ทั้ง 33 พระองค์ คัมภีร์ที่เป็นบทประพันธ์ ในการประกอบยันต์พิธี การบวงสรวง และสุดท้ายเป็นบทสวด ขับร้องมีมากถึง 1549 บทพิธีกรรมของฮินดู มักจะเกี่ยวข้องกับมนต์คาถา การบูชาเครื่องรางของขลัง ดังนั้นเครื่องรางทั้งหลาย ที่มักปรากฏในปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นเครื่องรางเสริมโชคลาภ เครื่องรางหนุนดวง หรือแม้แต่การทำพิถีแช่ง ก็ได้รับอิทธิพล มาจาก ฮินดู

ศาสนาฮินดู

ความเชื่อ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู พิธีกรรม อะไรน่าสนใจบ้าง

สำหรับพิธีกรรมที่ประกอบ ใน ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู พิธีกรรม พระเป็นเจ้าของศาสนาฮินดูคืออะไรและชาวฮินดูเชื่อถือสิ่งใด มีเป็นร้อยเป็นพันพิธีกรรม ที่แตกแขนงออกไป ตามความเชื่อของคน แต่ละท้องถิ่น  แต่ทั้งนี้พิธีกรรม สำคัญที่ยังคงปรากฏ และปฏิบัติสืบทอดกันมา ในประเทศไทย

 

ก็คือ  “พิธีกรรมแรกนาขวัญ” หากเป็นในอดีต ก็จะมีพิธีโล้ชิงช้า หรือตรียัมปวาย แม้จะงดพิธีกรรมโล้ชิงช้าไปแล้ว ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 7 ทว่าเสาชิงช้า ที่ตั้งอยู่ใกล้กับวัดสุทัศน์ ก็ยังคงเป็นอนุสรณ์สถานว่า เคยมีการประกอบ พิธีกรรมนี้มาก่อน

 

ส่วนพิธีกรรมแรกนาขวัญ จะเป็นพิธีกรรมเสี่ยงทาย โดยใช้พระโคเสี่ยงทาย และดำเนินพิธีด้วยพราหมณ์หลวง  เชื่อว่าเป็นพิธีศักดิ์สิทธิ์ ที่สามารถบอกถึงดินฟ้าอากาศ พืชพันธุ์ธัญญาหาร ในแต่ละปีได้อย่างแม่นยำ พิธีกรรมนี้จะเป็นการเสริมขวัญกำลังใจ ให้กับบรรดาเกษตรกร และถือปฏิบัติ

 

กันมาอย่างยาวนาน โดยมีความเชื่อว่า พืชพรรณธัญญาหาร และทุกสิ่งทุกอย่างที่ อยู่รายล้อมตัวเรานี้ ล้วนมีจิตวิญญาณและ มีเทพสถิตอยู่ ถ้ามีการสู่ขวัญข้าว สู่ขวัญพืชพันธุ์ธัญญาหารเหล่านี้ ก็จะทำให้ผลผลิตดี เกิดสิริมงคลกับบ้านเมือง พิธีนี้มีการสืบทอดมา ตั้งแต่สมัยสุโขทัย และยังยึดถือปฏิบัติ มาจนถึงรัตนโกสินทร์